backpack จากเวียงจันทน์มากรุงเทพฯ โปรแกรมที่ 1 เยือนวัดพระแก้ว(ตอนย่อยที่3)
เมื่อเดินออกมาจากวัดโพธิ์ประตูเดิมแล้ว ก็เดินไปทางซ้ายมือไปยัง ท่าเตียนเพื่อนั่งเรือข้ามฝาก
แวะหาของกินที่ท่าเตียน อิ่มอร่อยมื้อเที่ยง แม้จะกินสายไปหน่อย555 กินเสร็จก็ไปลงเรือกันเลย ต้องนั่งเรือข้ามฝากน่ะครับย้ำไว้ก่อน เดี๋ยวไปลงเรือด่วนจะงงเอา ค่าเรือ 3 บาท ไปยังวัดต่อไป
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร(เข้าฟรี)
หรือ วัดแจ้งนั่นเอง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างในสมัยอยุธยา เป็นวัดที่นิยมอีกเช่นเดียวกัน เรียกได้เลยว่า เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศไทย ที่ชาวต่างชาติรู้จักกัน โดยเฉพาะในยามค่ำที่เปิดไฟ จะสวยงามมาก
วัดอรุณยามค่ำ
เมื่อขึ้นจากท่าเรือวัดอรุณมาแล้ว อันดับแรกก็คือ การไปไหว้พระในพระวิหารก่อน
ซึ่งพระวิหารวัดอรุณฯ จะมีลักษณะสีขาวประดิษฐาน พระพุทธชัมพูนุช นิยมขอพรในเรื่อง ชีวิตรุ่งโรจน์ทุกคืนวัน
สิ่งสวยงามอีกแห่งหนึ่งของวัดอรุณฯคือ ซุ้มประตูหน้าพระวิหาร กับ ยักษ์วัดอรุณฯ นั่นเอง ยักษ์ที่วัดอรุณฯจะใหญ่กว่าวัดโพธิ์มากเลยทีเดียว
ยักษ์วัดอรุณฯ กับซุ้มระตู
ต่อไปก็คือการขึ้นไปชมพระปรางค์วัดอรุณฯ มาวัดนี้ต้องไม่พลาดที่จะขึ้นไม่งั้นจะถือว่ามาไม่ถึง
เพราะถ้าใครได้ขึ้นแล้วจะไม่อยากลงมากันเลยที่เดียว อยากรู้ต้องลองขึ้นไปดู(ตอนนี้กำลังบูรณะอยู่ควรหาข้อมูลก่อนไป)
วิวจากพระปรางค์
เมื่อเดินชมจนหนำใจแล้ว ก็ไปซื้อตั๋วชม 3 วัดที่ท่าน้ำกัน(คนละท่ากับท่าเรือข้ามฝาก) ราคา30บาท นั่งเรือไปที่วัดต่อไปกันเลย
วัดกัลยานมิตรวรมหาวิหาร(เข้าฟรี)
สร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 มีการสร้างวิหารหลวงและพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ให้คล้ายกับวัดในกรุงเก่า อย่าง วัดพนัญเชิง เข้าไปไหว้พระประธานกันเลย ในพระวิหารประดิษฐาน พระประธานองค์ใหญ่ ชื่อ พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อโต หรือจะ เรียกชื่อแบบจีนว่า ซำปองกง นิยมขอพรในเรื่อง เดินทางปลอดภัย มีมิตรไมตรีที่ดี
พระวิหาร
พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโตหรือซำปอกง)
กลับมารอนั่งเรืออีกครั้ง เพื่อไปยังวัด ต่อไป นั่นก็คือ
วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร(เข้าฟรี)
วัดระฆังฯ เป็นวัดที่อยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างในสมัยอยุธยา สิ่งที่ทำให้วัดระฆังฯเป็นที่รู้จักมากขึ้น คือ เป็นที่สถิตของ สมเด็จพระพุทฒาจารย์(โต พฺรหฺมรํสี) ที่ประชาชนนับถืออย่างมากในเมืองไทย เพราะนอกจากมีจริยาวัตรด้านความสมถะ ท่านยังทรงคุณทางด้านวิชาอาคม เมตตามหานิยม โดยเฉพาะวัตถุมงคล คือ พระสมเด็จ ที่เป็นพระเบญจภาคี สุดยอดพระเครื่องของไทย และท่านเป็นผู้ปรับปรุงแก้ไข คาถาชินบัญชร ที่มีชื่อเสียง
เข้าไปในพระอุโบสถ ไหว้พระประธานกันก่อนเลย
ในพระอุโบสถจะประดิษฐานหลวงพ่อยิ้มรับฟ้า นิยมขอพรในเรื่อง มีชื่อเสียงด่งดัง คนนิยมชมชอบ
หลวงพ่อยิ้มรับฟ้า
ค่อยนั่งเรื่องข้ามฝากจากวัดระฆัง ไปยังท่าช้าง ในราคา 3 บาท
แล้วนั่งเรือด่วนเจ้าพระยา ไปลงท่าพระอาทิตย์ ค่อเข้าที่พัก ค่าเรือไม่เกิน 20 บาทหรือจะหาซื้อของกินแล้วนั่งเล่นที่สนามหลวงชม สนามหลวงยามค่ำคืน ค่อยเดินกลับก็ได้
ค่าใช้จ่าย ค่าเดินทาง = 56 บาท(นั่งเรือด่วน)
ค่ากิน มื้อละ 60 บาท 3 มื้อ = 180 บาท
ทำบุญ = 200 บาท
ค่าเข้าชม = 700 บาท
เผื่อ = 200 บาท
รวมค่าใช้จ่าย 1,336 บาท
แวะหาของกินที่ท่าเตียน อิ่มอร่อยมื้อเที่ยง แม้จะกินสายไปหน่อย555 กินเสร็จก็ไปลงเรือกันเลย ต้องนั่งเรือข้ามฝากน่ะครับย้ำไว้ก่อน เดี๋ยวไปลงเรือด่วนจะงงเอา ค่าเรือ 3 บาท ไปยังวัดต่อไป
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร(เข้าฟรี)
หรือ วัดแจ้งนั่นเอง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างในสมัยอยุธยา เป็นวัดที่นิยมอีกเช่นเดียวกัน เรียกได้เลยว่า เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศไทย ที่ชาวต่างชาติรู้จักกัน โดยเฉพาะในยามค่ำที่เปิดไฟ จะสวยงามมาก
วัดอรุณยามค่ำ
เมื่อขึ้นจากท่าเรือวัดอรุณมาแล้ว อันดับแรกก็คือ การไปไหว้พระในพระวิหารก่อน
ซึ่งพระวิหารวัดอรุณฯ จะมีลักษณะสีขาวประดิษฐาน พระพุทธชัมพูนุช นิยมขอพรในเรื่อง ชีวิตรุ่งโรจน์ทุกคืนวัน
สิ่งสวยงามอีกแห่งหนึ่งของวัดอรุณฯคือ ซุ้มประตูหน้าพระวิหาร กับ ยักษ์วัดอรุณฯ นั่นเอง ยักษ์ที่วัดอรุณฯจะใหญ่กว่าวัดโพธิ์มากเลยทีเดียว
ยักษ์วัดอรุณฯ กับซุ้มระตู
ต่อไปก็คือการขึ้นไปชมพระปรางค์วัดอรุณฯ มาวัดนี้ต้องไม่พลาดที่จะขึ้นไม่งั้นจะถือว่ามาไม่ถึง
เพราะถ้าใครได้ขึ้นแล้วจะไม่อยากลงมากันเลยที่เดียว อยากรู้ต้องลองขึ้นไปดู(ตอนนี้กำลังบูรณะอยู่ควรหาข้อมูลก่อนไป)
วิวจากพระปรางค์
เมื่อเดินชมจนหนำใจแล้ว ก็ไปซื้อตั๋วชม 3 วัดที่ท่าน้ำกัน(คนละท่ากับท่าเรือข้ามฝาก) ราคา30บาท นั่งเรือไปที่วัดต่อไปกันเลย
พระวิหาร
พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโตหรือซำปอกง)
กลับมารอนั่งเรืออีกครั้ง เพื่อไปยังวัด ต่อไป นั่นก็คือ
เข้าไปในพระอุโบสถ ไหว้พระประธานกันก่อนเลย
ในพระอุโบสถจะประดิษฐานหลวงพ่อยิ้มรับฟ้า นิยมขอพรในเรื่อง มีชื่อเสียงด่งดัง คนนิยมชมชอบ
หลวงพ่อยิ้มรับฟ้า
ค่อยนั่งเรื่องข้ามฝากจากวัดระฆัง ไปยังท่าช้าง ในราคา 3 บาท
แล้วนั่งเรือด่วนเจ้าพระยา ไปลงท่าพระอาทิตย์ ค่อเข้าที่พัก ค่าเรือไม่เกิน 20 บาทหรือจะหาซื้อของกินแล้วนั่งเล่นที่สนามหลวงชม สนามหลวงยามค่ำคืน ค่อยเดินกลับก็ได้
ค่าใช้จ่าย ค่าเดินทาง = 56 บาท(นั่งเรือด่วน)
ค่ากิน มื้อละ 60 บาท 3 มื้อ = 180 บาท
ทำบุญ = 200 บาท
ค่าเข้าชม = 700 บาท
เผื่อ = 200 บาท
รวมค่าใช้จ่าย 1,336 บาท
ซึ่งพระวิหารวัดอรุณฯ จะมีลักษณะสีขาวประดิษฐาน พระพุทธชัมพูนุช นิยมขอพรในเรื่อง ชีวิตรุ่งโรจน์ทุกคืนวัน
สิ่งสวยงามอีกแห่งหนึ่งของวัดอรุณฯคือ ซุ้มประตูหน้าพระวิหาร กับ ยักษ์วัดอรุณฯ นั่นเอง ยักษ์ที่วัดอรุณฯจะใหญ่กว่าวัดโพธิ์มากเลยทีเดียว
ยักษ์วัดอรุณฯ กับซุ้มระตู
ต่อไปก็คือการขึ้นไปชมพระปรางค์วัดอรุณฯ มาวัดนี้ต้องไม่พลาดที่จะขึ้นไม่งั้นจะถือว่ามาไม่ถึง
เพราะถ้าใครได้ขึ้นแล้วจะไม่อยากลงมากันเลยที่เดียว อยากรู้ต้องลองขึ้นไปดู(ตอนนี้กำลังบูรณะอยู่ควรหาข้อมูลก่อนไป)
วิวจากพระปรางค์
เมื่อเดินชมจนหนำใจแล้ว ก็ไปซื้อตั๋วชม 3 วัดที่ท่าน้ำกัน(คนละท่ากับท่าเรือข้ามฝาก) ราคา30บาท นั่งเรือไปที่วัดต่อไปกันเลย
วัดกัลยานมิตรวรมหาวิหาร(เข้าฟรี)
สร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 มีการสร้างวิหารหลวงและพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ให้คล้ายกับวัดในกรุงเก่า อย่าง วัดพนัญเชิง เข้าไปไหว้พระประธานกันเลย ในพระวิหารประดิษฐาน พระประธานองค์ใหญ่ ชื่อ พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อโต หรือจะ เรียกชื่อแบบจีนว่า ซำปองกง นิยมขอพรในเรื่อง เดินทางปลอดภัย มีมิตรไมตรีที่ดีพระวิหาร
พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโตหรือซำปอกง)
กลับมารอนั่งเรืออีกครั้ง เพื่อไปยังวัด ต่อไป นั่นก็คือ
วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร(เข้าฟรี)
วัดระฆังฯ เป็นวัดที่อยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างในสมัยอยุธยา สิ่งที่ทำให้วัดระฆังฯเป็นที่รู้จักมากขึ้น คือ เป็นที่สถิตของ สมเด็จพระพุทฒาจารย์(โต พฺรหฺมรํสี) ที่ประชาชนนับถืออย่างมากในเมืองไทย เพราะนอกจากมีจริยาวัตรด้านความสมถะ ท่านยังทรงคุณทางด้านวิชาอาคม เมตตามหานิยม โดยเฉพาะวัตถุมงคล คือ พระสมเด็จ ที่เป็นพระเบญจภาคี สุดยอดพระเครื่องของไทย และท่านเป็นผู้ปรับปรุงแก้ไข คาถาชินบัญชร ที่มีชื่อเสียงเข้าไปในพระอุโบสถ ไหว้พระประธานกันก่อนเลย
ในพระอุโบสถจะประดิษฐานหลวงพ่อยิ้มรับฟ้า นิยมขอพรในเรื่อง มีชื่อเสียงด่งดัง คนนิยมชมชอบ
หลวงพ่อยิ้มรับฟ้า
ค่อยนั่งเรื่องข้ามฝากจากวัดระฆัง ไปยังท่าช้าง ในราคา 3 บาท
แล้วนั่งเรือด่วนเจ้าพระยา ไปลงท่าพระอาทิตย์ ค่อเข้าที่พัก ค่าเรือไม่เกิน 20 บาทหรือจะหาซื้อของกินแล้วนั่งเล่นที่สนามหลวงชม สนามหลวงยามค่ำคืน ค่อยเดินกลับก็ได้
ค่าใช้จ่าย ค่าเดินทาง = 56 บาท(นั่งเรือด่วน)
ค่ากิน มื้อละ 60 บาท 3 มื้อ = 180 บาท
ทำบุญ = 200 บาท
ค่าเข้าชม = 700 บาท
เผื่อ = 200 บาท
รวมค่าใช้จ่าย 1,336 บาท
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น